หน้าที่ของ Business Development ในการจัดการข้อมูลลูกค้าตาม PDPA ต้องทำอะไรบ้าง?ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าหนึ่งในตำแหน่งสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนองค์กรอย่าง Business Development หรือ Sales ต้องทำงานกับข้อมูลลูกค้าอยู่บ่อยครั้ง เพราะฉะนั้นการขอความยินยอมกับลูกค้าจึงเป็นเรื่องสำคัญในการเก็บ ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง11/09/2024PDPAPDPA CorePDPA ImplementationPDPA Advisory
5 สิ่งที่ผู้ประกอบการควรรู้ เก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลอย่างไร ? ให้ถูกต้องตามหลัก PDPAในบทความนี้ เราจะพาทุกคนไปทำความเข้าใจถึงขั้นตอนการดูแลรักษาข้อมูลส่วนบุคคล พร้อมทั้งบอกสิ่งที่ผู้ประกอบการควรรู้ เพื่อปรับองค์กรให้พร้อมต่อการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลตามหลัก PDPA ส่วนจะมีขั้นตอนอย่างไรบ้างนั้นต้องติดตาม21/08/2022PDPA ImplementationPDPA AdvisoryData CollectionBusiness
เจาะลึก ROPA เกี่ยวข้องกับกฎหมาย PDPA อย่างไร ?ไขข้องสงสัยว่า บันทึกรายการของกิจกรรมข้อมูลส่วนบุคคล หรือ ROPA คือ อะไร ? และสำคัญอย่างไรต่อการปรับองค์กรให้สอดคล้องกับ PDPA หาคำตอบได้จากบทความนี้07/06/2022PDPA ImplementationROPAData Mapping
เพราะอะไร ? ธุรกิจควรเตรียมความพร้อม PDPA กับนักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญการเตรียมความพร้อม PDPA ตาม Checklist นับเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และใช้งานง่าย อย่างไรก็ตาม การได้นักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้าน PDPA โดยตรง อาจเป็นทางเลือกที่ดีกว่าสำหรับการเตรียมความพร้อม PDPA ของธุรกิจในยุคปัจจุบัน25/04/2022PDPA ImplementationLegalPDPA ComplianceCookie ConsentDSAR
พร้อมรับมือ PDPA สรุป 10 สิ่งที่องค์กรต้องเตรียมพร้อม หลายคนคงคุ้นหูกับคำว่า PDPA มาบ้าง ว่าเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองส่วนบุคคล สำหรับผู้ประกอบการหรือองค์กรที่มีการจัดเก็บ รวบรวม หรือใช้ข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อใช้ดำเนินงานในองค์กรหรือเพื่อการประกอบธุรกิจ ก็จำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎหมาย PDPA ทั้งสิ้น เพื่อไม่ให้เกิดการละเมิด หรือนำข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าหรือพนักงานในองค์กรไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งจะมีโทษทางกฎหมายตามมา รวมถึงความน่าเชื่อถือขององค์กรที่เสียไปอีกด้วย21/03/2022PDPA ImplementationPDPA AwarenessData SecurityData MappingConsentData Breachสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
How to เตรียมความพร้อมรับกฎหมาย PDPA ถึงเวลาที่ธุรกิจต้องตื่นตัวกฎหมาย PDPA (Personal Data Protection Act) หรือพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 จะเริ่มบังคับใช้เต็มรูปแบบในเดือนมิถุนายน 2565 นี้ สำหรับ PDPA เป็นกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งข้อมูลเหล่านี้สามารถระบุถึงตัวเจ้าของข้อมูลนั้นได้ อาจเป็นได้ทั้งข้อมูลในรูปแบบเอกสาร กระดาษ หนังสือ หรือจัดเก็บในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้03/01/2022PDPA ImplementationPDPA ComplianceCompliance Guideline
มี PDPA แล้ว ยังต้องทำ GDPR อยู่ไหม?หลายคนที่ทำงานในแวดวงดิจิทัลหรือการตลาดคงเคยได้ยินคำว่า PDPA กับ GDPR มาบ้างแล้ว แล้วทั้ง 2 คำนี้ต่างกันอย่างไร? เหมือนกันหรือไม่? ถ้าธุรกิจทำ PDPA แล้ว จำเป็นต้องทำ GDPR ไหม? บทความนี้จะมาเปรียบเทียบและตอบข้อสงสัยระหว่าง PDPA และ GDPR กัน28/09/2021PDPAPDPA ImplementationPDPA Advisoryสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลGDPR
B2B กับ B2C ความแตกต่างของการทำ PDPAในยุคนี้ที่รูปแบบการทำการตลาดเริ่มเปลี่ยนจากการตลาดรูปแบบเดิมอย่างสื่อสิ่งพิมพ์ ไปเป็นการตลาดออนไลน์ที่ผู้บริโภคเข้าถึงสินค้าหรือบริการง่ายเพียงปลายนิ้ว ส่วนที่แทบจะเรียกได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของการตลาดในยุคนี้คือ “ข้อมูล” นั่นเอง19/08/2021PDPA ImplementationSales and MarketingB2BB2CConsentLegitimate InterestBusiness
PDPA ส่งผลกระทบกับธุรกิจ B2B อย่างไร พร้อมแนวทางการรับมือสำหรับธุรกิจพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือ PDPA คือ กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จะเริ่มใช้บังคับเต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2565 ส่งผลให้ภาคธุรกิจต้องปรับตัวกับการใช้หรือเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าครั้งใหญ่ ซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่สามารถแสดงตัวตนได้ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม และเป็นได้ทั้งข้อมูลในรูปแบบออนไลน์หรือออฟไลน์ เช่น ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ อีเมล เลขที่บัญชีธนาคาร ข้อมูลชีวภาพ (ลายนิ้วมือ, ภาพสแกนใบหน้า) ข้อมูลประกันสังคม ประวัติอาชญากรรม เป็นต้น คราวนี้เรามาศึกษากันว่าธุรกิจ B2B จะต้องปรับตัวกับการมาถึงของกฎหมายฉบับนี้อย่างไรกันบ้าง15/08/2021PDPA ImplementationPDPA Training and SeminarsHRSales and MarketingLearnPDPAB2BBusiness
ทำไมธุรกิจจำเป็นต้องเตรียมพร้อมและปรับตัว แม้ PDPA เลื่อน?ตามที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบออกพระราชกฤษฎีกาขยายเวลาบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2564 โดยเลื่อนออกไปอีก 1 ปี และให้บังคับใช้เต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2565 ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Data Controller) โดยตรง ซึ่งในบางองค์กรอาจเห็นว่าการเลื่อนในครั้งนี้เป็นข้อดี เพราะยังไม่สามารถดำเนินการให้สอดคล้องตามกฎหมาย PDPA ทั้งหมดได้ ซึ่งเหตุผลก็คงมีหลายปัจจัยทั้งเรื่อง สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ที่ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องและรุนแรง ทำให้กระบวนการหลายฝ่ายต้องหยุดชะงักหรือถูกเลื่อนออกไป หรืออาจเกิดจากการขาดผู้เชี่ยวชาญหรือองค์กรขาดสภาพคล่องทางธุรกิจทำให้จัดทำ PDPA ไม่ทันกำหนด18/07/2021PDPA ImplementationPDPA Training and SeminarsROPALearnPDPAData MappingGDPR
PDPA ต้องทำอะไรบ้าง? สรุปสิ่งที่ต้องเตรียมเพื่อรองรับ PDPAเมื่อธุรกิจมีการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล ก็จำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และเตรียมความพร้อม PDPA ก่อนที่ กฎหมายจะบังคับใช้เต็มรูปแบบในปีหน้า ทั้งด้านการจัดการข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data) ซึ่งรวมถึงการเตรียมความพร้อมด้านระบบที่รองรับและเอกสารทางกฎหมาย การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้เป็นไปตามมาตรฐาน รวมทั้งการสร้าง Awareness ด้าน PDPA ให้กับพนักงานในองค์กร01/06/2021PDPA ImplementationPDPA AdvisoryPersonal DataROPAPDPA Awareness
แนะนำ 3 บริการหลักจาก PDPA Core ให้บริการด้าน พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล อย่างครบวงจรPDPA Core ที่ปรึกษาผู้ให้บริการ PDPA แบบครบวงจรสำหรับองค์กรทุกขนาด30/05/2021PDPA ImplementationPDPA AdvisoryPDPA Training and Seminars
บริษัท เดต้า ว้าว จำกัด7 อาคารซัมเมอร์ พอยท์ ชั้นที่ 2 ซอยสุขุมวิท 69 แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทยโทร: 02-024-5560sales@datawow.io